ดอกเบี้ย ลด ต้น ลด ดอก กับ ดอกเบี้ย คง ที่: ดอกเบี้ย ลดต้นลดดอก คืออะไร? ดีอย่างไรกับผู้กู้อย่างเรา - เฮงลิสซิ่ง

โดย อ.

  1. 8 วิธีปรับโครงสร้างหนี้ ที่คนมีหนี้ต้องรู้ | Dek-D.com
  2. ดอกเบี้ยคงค้างคืออะไร? จ่ายยังไงหลังพักหนี้

8 วิธีปรับโครงสร้างหนี้ ที่คนมีหนี้ต้องรู้ | Dek-D.com

ดอกเบี้ยผ่อนรถ ที่เห็นที่ประกาศกัน เรามักจะรู้สึกว่าต่ำ ทำให้เกิดความอยากใช้บริการ เกิดความรู้สึกว่า ดอกเบี้ยต่ำขนาดนี้ เราผ่อนได้สบายๆ เป็นตัวกระตุ้นกิเกสให้ทำงานได้ ดีทีเดียว ………………. แต่ในความเป็นจริงแล้ว ดอกเบี้ยผ่อนรถ ซึ่งเรียกกันว่า flat rate นั้น อัตราดอกเบี้ยที่คนผ่อนต้องจ่าย จริงๆ จะสูงกว่าที่ประกาศแยะมาก ร่วมๆ 2 เท่าตัว เช่นหากประกาศ 3% จ่ายจริงๆอาจจะ 5-7% ได้เลย ยิ่งผ่อนยาวผ่อนนาน ยิ่งจ่ายสูงครับ …………………….
  1. ดอกเบี้ย ลด ต้น ลด ดอก กับ ดอกเบี้ย คง ที่ มท
  2. ดอกเบี้ย ลด ต้น ลด ดอก กับ ดอกเบี้ย คง ที่ 7
  3. ดอกเบี้ย ลด ต้น ลด ดอก กับ ดอกเบี้ย คง ที่ 2

ก็ได้รณรงค์ปรับปรุงเรื่องการชำระหนี้ก่อนครบกำหนด (prepayment) ให้มีการปฏิบัติที่เป็นธรรมมากขึ้นด้วย 3. ลดอัตราดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่ลดลง ทำให้ค่างวดที่จ่ายแต่ละเดือนแบ่งไปตัดลดเงินต้นได้มากขึ้น และเมื่อเงินต้นลด ภาระดอกเบี้ยก็จะลดลง เช่น เรากู้ยืมโดยมีอัตราดอกเบี้ย MOR+2% ต่อปี ได้รับผลกระทบทางเศรษฐกิจทำให้ผ่อนชำระที่อัตราดอกเบี้ยเดิมไม่ไหว สามารถยื่นเรื่องขอลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ให้ต่ำลง สถาบันการเงินพิจารณาลดให้หรือไม่ ดูจากหลายปัจจัย เช่น ต้นทุนของสถาบันการเงินประวัติการผ่อนชำระของลูกหนี้ ประเภทสินเชื่อ และหลักประกัน เป็นต้น 4. ยกหรือผ่อนปรนดอกเบี้ยผิดนัดชำระหนี้ เมื่อต้นปี 2563 ธปท. ได้ประกาศให้สถาบันการเงิน คิดดอกเบี้ยปรับบนฐานของงวดที่ผิดนัดชำระจริงเท่านั้น เพื่อให้เกิดความเป็นธรรม และให้ความสำคัญกับความสามารถในการชำระหนี้ของลูกหนี้อย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้นด้วย สถาบันการเงินสามารถกำหนดอัตราดอกเบี้ยปรับได้ แต่ต้องไม่เป็นภาระแก่ลูกหนี้จนเกินสมควร หรือเป็นเหตุที่ทำให้ภาระหนี้สูงขึ้นมากจนชำระไม่ได้ กลายเป็นหนี้เสียในเวลาต่อมา 5. เพิ่มเงินทุนหมุนเวียน ในภาวะที่เหตุการณ์ในอนาคตมีความไม่แน่นอนสูง เงินทุนหมุนเวียน (working capital: WC) เป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยหล่อเลี้ยงธุรกิจในยามที่ลำบาก ให้มีโอกาสฟื้นกลับอย่างรวดเร็วได้ในภายหลัง ธปท.

ดอกเบี้ย ลด ต้น ลด ดอก กับ ดอกเบี้ย คง ที่ 2

อัตราดอกเบี้ยแบบคงที่ (Flat Rate) คือ การคำนวณอัตราดอกเบี้ยจากเงินต้นทั้งก้อนตั้งแต่วันที่เริ่มทําสัญญา และนำไปหารจำนวนงวดทั้งหมดที่ต้องผ่อนชำระ จะได้เป็นดอกเบี้ยเฉลี่ยที่ต้องจ่ายในแต่ละงวด ซึ่งแม้ว่าเราผ่อนชำระจนเงินต้นลดลงแล้ว แต่ดอกเบี้ยที่ถูกนำมาคำนวณในแต่ละงวดจะถูกคิดจากเงินต้นทั้งก้อนตั้งแต่วันที่เริ่มทําสัญญา ซึ่งหากเราต้องการให้หนี้หมดไว เราต้องปลดหนี้โดยการนำเงินก้อนไปปิดยอดเงินต้นพร้อมดอกเบี้ยคงเหลือทั้งหมด และค่าใช้จ่ายต่างๆ(หากมี) นั่นเอง 2.

ดอกเบี้ยคงค้างคืออะไร? จ่ายยังไงหลังพักหนี้

ดอกเบี้ย ลด ต้น ลด ดอก กับ ดอกเบี้ย คง ที่ 1
60 บาท การคำนวณหาดอกเบี้ยงวดแรก (เดือนมกราคม มี 31 วัน) เงินต้นคงเหลือ x อัตราดอกเบี้ยต่อปี x จำนวนวันในงวด/จำนวนวันในปี* = 100, 000 x 28% x 31/365 = 2, 378. 08 บาท/เดือน จำนวนเงินต้นที่ลดลง = 9, 650. 60 – 2, 378. 08 = 7, 272. 52 บาท หาเงินต้นคงเหลือ เพื่อคำนวณหาดอกเบี้ยในงวดถัดไป = 100, 000 – 7, 272. 52 = 92, 727. 48 บาท เมื่อสามารถคำนวณตามสูตรข้างต้นได้แล้ว ก็สามารถคำนวณทั้งดอกเบี้ยในงวดถัดไป จำนวนที่เงินต้นที่ลดลง และหาเงินต้นคงเหลือ เพื่อใช้คำนวณดอกเบี้ยในงวดถัดไปได้เรื่อย ๆ นั่นเอง แต่ถ้าหากคุณอยากให้หนี้หมดไวขึ้น การโปะหนี้ โดยการจ่ายให้มากกว่าเดิมหรือหากมีเงินก้อนก็นำมาจ่ายโปะหนี้ ถ้าเป็นบัตรเครดิต นั่นก็คือ จ่ายให้มากกว่าการชำระขั้นต่ำ หรือการโปะบ้าน ก็จะช่วยให้หนี้หมดไวขึ้น เพราะฉะนั้นสำหรับการกู้เงินโดยคิดดอกเบี้ย ลดต้นลดดอก การจ่ายคืนตามกำหนด จ่ายให้มากกว่าเดิม หรือหากเรามีเงินก้อนก็นำมาโปะหนี้ ก็จะช่วยให้ต้นลด ดอกลด หนี้ลดน้อยลงและหมดไวขึ้นนั่นเอง ข้อดีของการชำระหนี้ ดอกเบี้ยลดต้นลดดอก 1. ต้นลด ดอกลด หมดหนี้ไว เพราะทุกครั้งที่เราชำระหนี้ เงินก้อนนั้นจะถูกแบ่งเป็นอัตราดอกเบี้ยส่วนหนึ่ง อีกส่วนเป็นเงินต้น และเมื่อจ่ายในงวดถัดไป ก็จะนำมาคิดคำนวณดอกเบี้ยและเงินต้นใหม่ ตามสูตรคำนวณข้างต้น ซึ่งจะเห็นว่าเมื่อจ่ายในแต่ละงวด ทั้งดอกเบี้ยและเงินต้นจะลดลงตามไปด้วย ทำให้ยิ่งจ่าย ยิ่งลด หนี้ยิ่งหมดไว นั่นเอง 2.
ดอกเบี้ย ลด ต้น ลด ดอก กับ ดอกเบี้ย คง ที่ 7

64 คนไทยจะหลุดพ้นกับดักหนี้ในสถานการณ์โควิดที่มาซ้ำเติมได้ ผู้นำประเทศต้องยกปัญหาหนี้คนไทยให้เป็นวาระแห่งชาติเช่นนี้ ตั้งคณะกรรมการดูแลจริงจังและให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องร่วมแก้ปัญหาหนี้ครบวงจร เพื่อเป็นช่องทางให้หลายหน่วยงานที่พยายามเดินหน้าแก้ปัญหาหนี้คนไทยได้เชื่อมต่อภาพกัน และหาทางแก้ปัญหาเพิ่มเติมจากมาตรการลดดอกเบี้ยที่ช่วยบรรเทาภาระผ่อนชำระหนี้เป็นหลัก เพื่อให้แก้โจทย์ลดหนี้คนไทยได้อย่างเป็นรูปธรรมยิ่งขึ้นค่ะ ผู้เขียน: ดร. ฐิติมา ชูเชิด ฝ่ายนโยบายการเงิน คอลัมน์ "บางขุนพรหมชวนคิด" นสพ. ไทยรัฐ ฉบับวันที่ 3 กรกฎาคม 2564 บทความนี้เป็นข้อคิดเห็นส่วนบุคคล ซึ่งไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกับข้อคิดเห็นของธนาคารแห่งประเทศไทย

63 (2) ให้คิดอัตราดอกเบี้ยผิดนัดชำระที่ "อัตราดอกเบี้ยตามสัญญาบวกได้ไม่เกิน 3% ต่อปี" ตั้งแต่ 1 เม. 64 และ (3) กำหนดลำดับการตัดชำระหนี้ให้ "ตัดเงินต้นที่ค้างชำระนานสุดก่อน" ตั้งแต่ 1 ก. 64 สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาผลักดันให้มีการออกพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พ. ศ. 2564 เพื่อลดอัตราดอกเบี้ยผิดนัดชำระหนี้ที่ถูกฟ้องดำเนินคดีในชั้นศาลจนสิ้นสุดคดี มีผล 11 เม. 64 ซึ่งเป็นอัตราดอกเบี้ยตามมาตรา 7 และมาตรา 224 ของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ใช้มานานตั้งแต่ปี 2468 โดยปรับลดดอกเบี้ยที่ไม่ได้ตกลงทำสัญญากันไว้ก่อน (จากเดิม 7. 5% เหลือ 3% ต่อปี) ลดดอกเบี้ยผิดนัดชำระหนี้ (จากเดิม 7. 5% เหลือ 5% ต่อปี) ไม่คิดดอกเบี้ยซ้อนดอกเบี้ย และให้คิดดอกเบี้ยเฉพาะเงินต้นงวดที่ผิดนัด (จากเดิมคิดบนเงินต้นคงค้างทั้งหมด) การแก้ไขกฎหมายครั้งนี้ช่วยให้เกิดความเป็นธรรมกับลูกหนี้และปรับลดระดับอัตราดอกเบี้ยที่ไม่ได้ทำสัญญาไว้ก่อนและอัตราดอกเบี้ยผิดนัดชำระหนี้ให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบันมากขึ้น ช่วยลดภาระดอกเบี้ยจ่ายที่สูงไป ลดหนี้เสียและการฟ้องคดี ซึ่งเรื่องนี้ก็สอดคล้องกับประกาศ ธปท. เรื่องดอกเบี้ยผิดนัดชำระหนี้และลำดับการตัดชำระหนี้ที่ประกาศไปก่อนหน้านี้เช่นกัน กระทรวงการคลังมีนโยบายให้ธนาคารออมสินเร่งขยายบทบาทสู่ธุรกิจนอนแบงก์และสินเชื่อจำนำทะเบียนรถ เพื่อเป็นผู้นำตลาดเพิ่มการแข่งขันให้อัตราดอกเบี้ยตลาดลดลง แบงก์ออมสินได้ออกมาประกาศในเดือน มี.

การปรับโครงสร้างหนี้นั้นเป็นทางเลือกที่จะช่วยให้ผู้ที่เป็นหนี้สามารถดำเนินชีวิตหรือธุรกิจได้อย่างต่อเนื่องหลังสถานการณ์โควิด-19 ซึ่งทางธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท. ) นั้นได้สนับสนุนให้ลูกหนี้และสถาบันการเงินร่วมมือกันในการเจรจาปรับโครงสร้างหนี้และหาทางออกร่วมกัน ลดโอกาสที่ลูกหนี้ดีจะกลายเป็นลูกหนี้เสีย ควรปรับโครงสร้างหนี้เมื่อไหร่ 1. ไม่ต้องรอให้เป็นหนี้เสีย เมื่อคิดว่าเริ่มจะผ่อนไม่ไหว ให้รีบติดต่อสถาบันการเงิน จะได้ไม่เสียประวัติข้อมูลเครดิต 2. หากเป็นหนี้เสียแล้ว ก็สามารถติดต่อสถาบันการเงินเพื่อปรับโครงสร้างหนี้ให้เหมาะสมและผ่อนไหวได้ 3. เตรียมตัวก่อนเข้าไปเจรจา คิดไว้คร่าว ๆ ว่าแนวทางปรับโครงสร้างหนี้แบบไหนที่เหมาะกับเรา 8 วิธีปรับโครงสร้างหนี้ เลือกแบบไหนดี 1. ยืดหนี้ การยืดหรือขยายระยะเวลาชำระหนี้ นิยมใช้กันมากที่สุดเพื่อช่วยให้ภาระการผ่อนสอดคล้องกับรายได้ที่ลดลง เช่น สินเชื่อระยะเวลาผ่อน 10 ปี ผ่อนมาแล้ว 6 ปี เหลือ 4 ปี เริ่มผ่อนไม่ไหว จะขอขยายให้ยาวออกไป เพื่อทำให้ยอดผ่อนชำระต่อเดือนปรับลดลง สถาบันการเงินอาจพิจารณาอายุตัวของผู้กู้ประกอบด้วย ซึ่งในอดีตค่าเฉลี่ยของระยะเวลาผ่อนชำระหลังจากที่ปรับโครงสร้างหนี้อยู่ที่ประมาณ 8 ปี 2.

July 26, 2022, 3:08 pm